ความรู้เกี่ยวกับนกน้ำอพยพ
ฉบับที่ 11 : EAAFP Site Partnership Guideline
แนวทางการสร้างความร่วมมือระดับพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์นกน้ำอพยพและแหล่งที่อยู่อาศัย
หลักการของ Site Partnership
เน้นความร่วมมือระดับพื้นที่แบ่งปันมุมมองเพื่อลงมือทำ/สร้างการเปลี่ยนแปลงสะท้อนความต้องการ โดยคำนึงถึงโครงสร้างและวัฒนธรรมท้องถิ่นสร้างความยั่งยืน และส่งต่อให้คนรุ่นหลังเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ
กิจกรรมที่ควรดำเนินการ
ดูแลรักษาถิ่นที่อยู่อาศัยของนกน้ำอพยพสำรวจจำนวน/ประชากรนกน้ำอพยพร่วมศึกษาวิจัยกับสถาบันการศึกษา ผู้รู้ในท้องถิ่น และอาสาสมัครส่งเสริมงานด้านวิทยาศาสตร์พลเมืองกิจกรรม CEPA!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->…
ฉบับที่ 10 : Regional Flyway Initiative
Regional Flyway Initiative (RFI) เป็นความร่วมมือระหว่างธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) East Asian-Australasian Flyway Partnership (EAAFP) และ BirdLife International เพื่อการคุ้มครองและการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ อย่างยั่งยืน ในการช่วยสนับสนุนการคุ้มครอง ดูแลและฟื้นฟูพื้นที่ชุ่มน้ำ ในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมุ่งเน้นพื้นที่ชุ่มน้ำ ชายฝั่งทะเลเป็นหลัก เพื่อพัฒนาแผนงานในระยะยาวในการปกป้องคุ้มครอง ฟื้นฟูระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำ และบริการจากระบบนิเวศ!-->!-->!-->…
ฉบับที่ 9 : การดำเนินงานด้านนกน้ำอพยพและนกประจำถิ่นในประเทศไทย
Actions inThailand : Migratory water Bird & Resident Bird
Meeting of Partners of East Asian – Australasian Flyway Partnership (EAAFP-MOP11)-การรับรอง CEPA Action Plan (2023-2028)-การปรับปรุงเกณฑ์และเอกสารการเสนอพื้นที่เครือข่ายนกน้ำอพยพ-คู่มือแนวทางการปฏิบัติงาน EAAFP National & Site PartnershipsAsian Waterbird Census : AWC 2023 – Thailandโครงการนับประชากรนกน้ำในช่วงฤดูหนาว (AWC) เป็นสำรวจนับประชากรนกน้ำในเดือนมกราคมของทุกปี โดยสมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย ร่วมกับ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า!-->!-->!-->!-->!-->…
ฉบับที่ 8 : นกน้ำอพยพและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบสภาวะอากาศและรูปแบบความแปรปรวนของสภาวะอากาศในระยะยาว อันเป็นผลจากกิจกรรมของมนุษย์ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนองค์ประกอบของบรรยากาศโลกโดยตรงหรือโดยอ้อม และที่เพิ่มเติมจากความแปรปรวนของสภาวะอากาศทางธรรมชาติที่สังเกตเห็นได้ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
ความเชื่อมโยง Climate Change & Migratory Waterbirds1. ระบบนิเวศของแหล่งอาหาร2. สภาพแวดล้อมของแหล่งทำ รังวางไข่3. การย้ายถิ่นถาวร / การรุกราน4. การขาดแคลนอาหารระหว่างการอพยพ5. ช่วงเวลาเหมาะสมในการเดินทาง6.!-->!-->!-->!-->!-->…
ฉบับที่ 7 : ถิ่นที่อยู่อาศัยของนกน้ำอพยพ
Migratory Waterbirds And Their Habitats
“นกน้ำอพยพ” พบได้ที่ไหน
1. พื้นที่ชุ่มน้ำในแผ่นดิน (Inland Wetlands)
แหล่งน้ำ ไหล (Riverine) เช่น แม่น้ำลำธาร คลอง ห้วย ที่มีน้ำไหลตลอดปี หรือน้ำไหลบางฤดู รวมถึงที่ราบลุ่มฝั่งแม่น้ำ ได้แก่ ทุ่งหญ้าหรือพรุหญ้า ป่าพรุที่ลุ่มชื้นแฉะ หรือหนองน้ำ (Swamp) เช่น พื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง ที่มีความลึกไม่เกิน 2 เมตร และมีพืชน้ำปกคลุมมากกว่าร้อยละ 30ทะเลสาบ หรือ บึง (Lake, Pond) แหล่งน้ำ ขนาดใหญ่ มีความลึกมากกว่า 2 เมตร และมีพืชน้ำ ปกคลุมน้อยกว่าร้อยละ 30
2.!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->!-->…