กลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพ
Just another WordPress site
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
Biodiversity CHM Thailand
ความเป็นมาของ CHM
บทบาทหน้าที่ CHM
การดำเนินงานของประเทศไทย
กองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงสร้าง/ภารกิจ
กลุ่มงานบริหารทั่วไป
กลุ่มงานประสานงานกลางอนุสัญญา
กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์
กลุ่มงานความมั่นคงทางชีวภาพ
กลุ่มงานขับเคลื่อนนโยบายและกลไก
กฎหมาย
(ร่าง) พ.ร.บ. ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. ….
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นโยบาย/แผน
แผนแม่บทบูรณาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2564
นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง
ภายในประเทศ
ระหว่างประเทศ
คณะกรรมการ
คณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ (กอช.)
ความเป็นมา/ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
องค์ประกอบ/อำนาจหน้าที่
การประชุม
ติดต่อฝ่ายเลขานุการ
คณะอนุกรรมการภายใต้ กอช.
คณะทำงานภายใต้คณะอนุกรรมการ
ข่าวการประชุม
อนุสัญญา/พันธกรณี
อนุสัญญาและพิธีสาร
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
เกี่ยวกับอนุสัญญา
ความเป็นมา
เนื้อหา
ภาคีอนุสัญญา
ข้อตัดสินใจที่สำคัญ
แผนกลยุทธ์ฯ และเป้าหมายไอจิ
กรอบงานคุนหมิง-มอนทรีออลฯ
วันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ
โปรแกรมงานและประเด็น
การประชุมภายใต้อนุสัญญา
CBD COP
SBSTTA
SBI
WG (8j)
รายงานแห่งชาติ
พิธีสารคาร์ตาเฮนาฯ
เกี่ยวกับพิธีสาร
ภาคีพิธีสาร
ข้อตัดสินใจที่สำคัญ
กลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน
พิธีสารเสริมนาโงยา-กัวลาลัมเปอร์ฯ
BCH
พิธีสารนาโงยาฯ
เกี่ยวกับพิธีสาร
ข้อตัดสินใจที่สำคัญ
ABSCH
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ความร่วมมืออาเซียน
อาเซียนกับความหลากหลายทางชีวภาพ
คณะทำงานอาเซียน (AWGNCB)
ศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
อุทยานมรดกอาเซียน
IPBES
เกี่ยวกับ IPBES
การประเมินที่สำคัญของ IPBES
การประชุม IPBES
การดำเนินงานในประเทศ
ความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง (MEAs)
อนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
คลังความรู้
พระมารดาแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ
การถวายพระราชสมัญญานาม
พระราชดำรัส
การสนองพระราชดำรัส
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพคืออะไร
คุณค่าและความสำคัญ
ความหลากหลายชีวภาพด้านต่างๆ
ความหลากหลายทางชีวภาพในวัฒนธรรมและประเพณีไทย
ความหลากหลายทางชีวภาพในสิ่งแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพในวิถีชีวิตไทย
ความหลากหลายทางชีวภาพในอาหาร
ความหลากหลายทางชีวภาพในยาและรักษาโรค
สถานภาพ
สถานภาพของประเทศไทย
สถานภาพการคุกคามชนิดพันธุ์ (สัตว์)
เกณฑ์การจำแนก
สถานภาพการคุกคาม (กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง)
กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
กลุ่มนก
กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก
กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน
กลุ่มปลา
สถานภาพการคุกคาม (กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง)
กลุ่มมอลลัสกา
กลุ่มครัสเตเชียน
กลุ่มปะการัง
สถานภาพของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศป่าไม้
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในการนำมาใช้ประโยชน์
ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ
ระบบนิเวศภูเขา
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในการนำมาใช้ประโยชน์
ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ
ระบบนิเวศแห้งแล้งกึ่งชื้น
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในการนำมาใช้ประโยชน์
ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแแผ่นดิน
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในการนำมาใช้ประโยชน์
ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ
ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง
ระบบนิเวศหาด
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ระบบนิเวศแนวปะการัง
ความหลากหลายทางชีวภาพคืออะไร
คุณค่าและความสำคัญ
ความหลากหลายทางชีวภาพคืออะไร
ระบบนิเวศแหล่งหญ้าทะเล
ระบบนิเวศทะเลสาบสงขลา
ระบบนิเวศทะเลเปิด
ระบบนิเวศเกาะ
ภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในการนำมาใช้ประโยชน์
ระบบนิเวศเกษตร
ระบบนิเวศการผลิตพืช
ระบบนิเวศการผลิตสัตว์
ระบบนิเวศประมง
ระบบนิเวศส่วนป่า
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
ความหมาย
ทะเบียน
ทะเบียนรายการ 1
ทะเบียนรายการ 2
ทะเบียนรายการ 3
ทะเบียนรายการ 4
มาตรการ
Biobrief
โครงการสำคัญ
โครงการศึกษา
โครงการระหว่างประเทศ
สื่อสิ่งพิมพ์
เอกสารเผยแพร่
รายงานแห่งชาติ
แผน/มาตรการ
อนุสัญญา/พิธีสาร
รายการชื่อสิ่งมีชีวิต
รายงานการประชุม
เอกสารเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
เอกสารเกี่ยวกับพื้นที่ชุ่มน้ำ
เอกสารเกี่ยวกับความปลอดภัยทางชีวภาพ
Red Data
Invasive Alien Species : IAS
โปสเตอร์/แผ่นพับ
วีดิทัศน์
กลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพ
การประชุมเตรียมการ ครั้งที่ 1 สำหรับการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ สมัยที่ 16 (CBD COP16) และการประชุมที่เกี่ยวข้อง
By
jutharat rodpuang
on March 20, 2024
วันที่ 20 มีนาคม 2567 นายจิรวัฒน์ ระติสุนทร รองเลขาธิการ สผ. เป็นประธานการประชุมเตรียมการ ครั้งที่ 1 สำหรับการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ สมัยที่ 16 (CBD COP16) และการประชุมที่เกี่ยวข้อง ซึ่งกองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพได้จัดการประชุมดังกล่าวขึ้น และเพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเตรียมการสำหรับการประชุม CBD COP 16 ที่กำหนด จัดระหว่างวันที่ 21 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2567 ณ เมืองซานดิเอโก เดอ กาลิ สาธารณรัฐโคลอมเบีย โดยการประชุม CBD COP 16 จะมีการหารือเกี่ยวกับการแปลงแผนความหลากหลายทางชีวภาพของโลก ตามกรอบงานคุนหมิง-มอลทรีออลว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพของโลกไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความหลากหลายทางชีวภาพในระดับประเทศ การระดมทรัพยากรทางการเงินเพื่อสนับสนุน การดำเนินงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และการเร่งรัดการดำเนินด้านการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรม ดังนั้น ผู้แทนประเทศไทย ในฐานะภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ จึงควรมีกรอบท่าที ที่นำไปสู่การสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ของอนุสัญญาฯ และการส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติที่เอื้อต่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน รวมถึงแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ผลประโยชน์จากการนำทรัพยากรพันธุกรรมไปใช้ประโยชน์ในระดับนานาชาติกลับคืนสู่ประเทศไทย
นายจิรวัฒน์ ระติสุนทร รองเลขาธิการ สผ.
เป็นประธานกล่าวต้อนรับการประชุมเตรียมการประชุม
CBD COP16 ครั้งที่ 1
นางภัทรินทร์ ทองสิมา ผอ.กลุ่มงานนโยบายเเละยุทธศาสตร์ นำเสนอ
การจัดทำเป้าหมายชาติและแผนปฏิบัติการด้านความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ
ผู้อำนวยการกองจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยตาม 23 เป้าหมายของกรอบงานคุนหมิง-มอลทรีออลว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
นางสาวเบญจมาภรณ์ วัฒนธงชัย
ผอ.กลุ่มงานประสานงานกลางอนุสัญญา นำเสนอประเด็นที่ประเทศไทย
จะให้ความเห็นในระหว่างการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ สมัยที่ ๑๖ และการประชุมที่เกี่ยวข้องและ
ร่าง (zero draft) กรอบท่าทีเจรจาด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
และระบบนิเวศของประเทศไทย
Post Views:
241
Biodiversity
COP16
COP16
ข่าวประชาสัมพันธ์
Share
Related Posts
📰 ไทยเดินหน้าหารือฝรั่งเศสภายใต้กรอบความร่วมมือทวิภาคีด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ไทย-ฝรั่งเศส ในช่วงการประชุม CBD COP 16
📰 ประเทศไทยแสดงความมุ่งมั่นผ่านเป้าหมายชาติเพื่อร่วมดำเนินงานกับประชาคมโลกและภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
📰 ประเทศไทยหารือทวิภาคีกับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงการประชุมระดับสูงของ CBD COP 16
📰News: ประเทศไทย โดย สผ. ร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญของโลก ในการประชุม CBD COP 16
📰News: ทส. และ สผ. ร่วมหารือกลุ่ม HAC for Nature and People ระหว่างการประชุม CBD COP 16 เพื่อเร่งการดำเนินงานตามเป้าหมาย 30 x 30
ผู้แทนไทยร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนกิจกรรมที่เป็นอันตรายต่อความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อมุ่งสู่ Nature Positive
ผู้แทนไทยร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงานด้านภาคธุรกิจและการเงินในภูมิภาคอาเซียน