ตอนที่ 5 : ทุ่งหญ้า ทุ่งไม้พุ่ม และทุ่งหญ้าสะวันนา (grasslands, shrublands and savannahs)
ทศวรรษแห่งการฟื้นฟูระบบนิเวศ (UN Decade on Ecosystem Restoration 2021-2030) ตอนที่ 5 ทุ่งหญ้า ทุ่งไม้พุ่ม และทุ่งหญ้าสะวันนา (grasslands, shrublands and savannahs)
เมื่อนึกถึงที่อยู่อาศัยของสัตว์แล้วโดยทั่วไปก็มักจะนึกถึงป่าดงดิบที่ชุ่มชื้นและอุดมสมบูรณ์แต่ความจริงแล้วที่โล่งกว้างอย่างทุ่งหญ้าก็เป็นระบบนิเวศที่สำคัญ มีความหลากหลายและมีพื้นที่ครอบคลุมเกือบทุกทวีปทั่วโลกแต่หากพูดถึงทุ่งหญ้าสะวันนาก็อาจทำให้เห็นภาพของสัตว์หลายชนิดที่โดดเด่นและเป็นที่รู้จัก เช่น ม้าลาย ยีราฟ สิงโต ไฮยีนา เสือชีตาร์ เป็นต้น ซึ่งความจริงแล้วประเทศไทยก็มีพื้นที่ทุ่งหญ้าเขตร้อนเช่นเดียวกันได้แก่ ทุ่งหญ้าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดตาก ทั้งนี้ ทุ่งหญ้า ทุ่งไม้พุ่ม และทุ่งหญ้าสะวันนา มีความสำคัญ ภัยคุกคามและแนวทางการฟื้นฟูอย่างไรก็ไปอ่านกันได้ใน BioBrief ฉบับที่ 9 นี้ค่ะ
สามารถดาวน์โหลดเอกสารรูปแบบ PDF ได้ที่ลิงค์ด้านล่างนี้ค่ะ
https://drive.google.com/…/1JkUM1FQ_Nw…/view…
สามารถอ่านย้อนหลังซีรี่ย์เกี่ยวกับ “UN Decade on Ecosystem Restoration 2021-2030” ได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ค่ะ
ตอนที่ 1 : ทำความรู้จักกับ “ทศวรรษแห่งการฟื้นฟูระบบนิเวศ ค.ศ. 2021 – 2030”
ตอนที่ 2 : ภูเขาและป่าไม้
ตอนที่ 3 : แหล่งน้ำจืด
ตอนที่ 4 : พื้นที่เพาะปลูก (farmland)
ตอนที่ 5 : ทุ่งหญ้า ทุ่งไม้พุ่ม และทุ่งหญ้าสะวันนา (grasslands, shrublands and savannahs)
ตอนที่ 6 : พื้นที่พรุ (Peatswamp)
ตอนที่ 7 : มหาสมุทรและชายฝั่ง (Marine and Coasts)
ตอนที่ 8 : พื้นที่เมือง (Urban Areas)
#UNDecadeonEcosystemRestoration#UNDecade
#EcosystemRestoration
#GenerationRestoration
#ForNature
#BioBrief